สำนักงานกฎหมาย

นพนภัส

ทนายความเชียงใหม่

ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๔๐  กักกัน คือการควบคุมผู้กระทำความผิดติดนิสัยไว้ภายในเขตกำหนด เพื่อป้องกันการกระทำความผิด เพื่อดัดนิสัย และเพื่อฝึกหัดอาชีพ

คำพิพากษาที่เกี่ยวข้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 635/2491

ฎีกาว่าศาลฟังข้อเท็จจริงไม่ตรงตามสำนวนนั้นเป็นข้อกฎหมาย

พลตำรวจไม่จับกุมผู้ลักเล่นการพะนันนั้นไม่เป็นความผิดตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 146 เพราะการไม่จับกุมไม่ถือว่า เป็นการป้องกันและขัดขวางมิให้การเป็นไปตามกฎหมาย

การใช้ดุลยพินิจยกโทษจำคุกตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 40 แก่จำเลยในคดีการพะนันย่อมใช้ได้ ไม่เป็นการขัดต่อ พ.ร.บ.การพะนัน

 

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 781/2482

+อยู่ในระหว่างถูกรอการลงอาญานั้น ศาล+มาตรา 40 มาใช้ยกโทษ+คุกในคดีหลังได้ และ+ศาลยกโทษจำคุกแล้ว+อาญาที่รอไว้มาลงแ่จำเลยไม่ได้ และเพิ่มโทษจำเลยไม่ได้ด้วย อ้างฎีกาที่ 484/2482 , 508/2473

 

 

บทความที่น่าสนใจ

-การด่าตำรวจจราจรว่ารับสินบนจะมีผิดความหรือไม่

-ด่ากันทางโทรศัพท์

-ส่งมอบโฉนดให้เจ้าหนี้ยึดถือไว้เป็นหลักประกันต่อมาไปแจ้งความว่าโฉนดหายมีความผิดต้องโทษจำคุก

-การปลอมเป็นเอกสารจำเป็นต้องมีเอกสารที่แท้จริงหรือไม

-การลงลายมือแทนกันเป็นความผิดฐานปลอมเอกสาร

-เมื่อครอบครองปรปักษ์ที่ดินแล้ว ต่อมาเกิดที่งอกใครเป็นเจ้าของที่งอกนั้น

-ซื้อที่ดินในหมู่บ้านจัดสรร แล้วไปซื้อที่ดินข้างนอกที่ติดกับหมู่บ้าน
เพื่อเชื่อมที่ดินดังกล่าวเข้ากับที่ดินในหมู่บ้าน

-ขายฝากที่ดินต่อมาผู้ขายได้ปลูกสร้างบ้านบนที่ดิน แต่ไม่ได้ไถ่ภายในกำหนดบ้านเป็นของใคร

-ไม่ได้เข้าร่วมในการแบ่งกรรมสิทธิ์รวม

-ปลูกต้นไม้ในทางสาธารณะสามารถฟ้องให้รื้อถอนออกไปได้

-การทำสัญญายอมในศาลโดยการครอบครองในป่าสงวน

-เจ้าของรวมนำโฉนดที่ดินไปประหนี้เงินกู้ผลเป็นอย่างไร